|
รายการพระอภิธรรมวัดโพธิ์
โดยพระอาจารย์สมไชย
รากโพธิ
มูลนิธิพระอภิธรรมวัดเชตุพนฯ
|
ชื่อเรื่อง
(โปรดเลือกรายการที่ต้องการฟัง
๑–๑๘ ที่หน้าต่าง MP3
ด้านล่าง)🎧 |
28.02.2018
พระอภิธรรมบรรยาย_เจตสิกสังคหะ ๑ (อัญญสมานเจตสิก ๑๓)
พระอภิธรรมบรรยาย_จิตตสังคหะ ๒ (มหากุศลจิต ๘)
|
รายการพระอภิธรรมวัดโพธิ์
โดยพระอาจารย์สมไชย
รากโพธิ
มูลนิธิพระอภิธรรมวัดเชตุพนฯ
ที่มาข้อมูล:
https://archive.org/
|
ชื่อเรื่อง
(โปรดเลือกรายการที่ต้องการฟัง
๑–๑๘ ที่หน้าต่าง MP3 ด้านล่าง)🎧 |
ปทรูปสิทธิ_๗.๒ กิพพิธานกัณฑ์_เตกาลิก_กิตกัปปัจจยันตนัย
เตกาลิก
กิตกปฺปจฺจยนฺตนย
อิทานิ
กิตกปฺปจฺจยา วุจฺจนฺเต.
กร
กรเณ,
ปุเร
วิย ธาตุสญฺญาทิ.
กุมฺภอิจฺจุปปทํ,
ตโต
ทุติยา.
โลกนีติปาฬิแปล_๑.๑๗ หมวดบัณฑิต_รักดีหามจั่ว-รักชั่วหามเสา
#รักดีหามจั่ว รักชั่วหามเสา#
๑๗.
พฺยตฺต ปุตฺร กิมลโส, อพฺยตฺโต ภารหารโก;
พฺยตฺตโก ปูชิโต โลเก, พฺยตฺต ปุตฺร ทิเน ทิเน ฯ
“แน่ะบุตรผู้ฉลาด เจ้าจะเกียจคร้านไปทำไม?,
ที่แท้ คนโง่ ต้องแบกหามทำงานหนัก;
คนมีปัญญา ย่อมได้รับการบูชาในโลก,
ลูกรักเอ่ย เจ้าจงศึกษาหาความรู้ทุกๆวันเถิด.“
(#โลกนีติ หมวดบัณฑิต คาถาที่ ๑๗, #ธัมมนีติ ๑๙)
……………….
ศัพท์น่ารู้ :
#พฺยตฺต (ผู้ฉลาด, ผู้มีปัญญา) พฺยตฺต+สิ เป็นอาลปนวิภัตติ ลบ สิ วิภัตติ ด้วยสูตรว่า เสสโต โลปํ คสิปิ. (รู ๗๔)
#ปุตฺร (แน่ะบุตร, ลูกเอ่ย) ปุตฺร+สิ เป็นอาลปนวิภัตติ, มาจาก ปุ-ตฺรณฺ ปัจจัย ด้วยสูตรว่า ฉทาทีหิ ตตฺรณฺ.
แปลว่า ลง ต-ตฺรณฺ ปัจจัย หลังธาตุมี ฉท เป็นต้น (รู ๖๖๖) วิเคราะห์ว่า ปุนาตีติ ปุตฺโต, ปุตฺโร.
(ชื่อว่า ปุตฺต, ปุตฺร เพราะอรรถว่า ชำระ พ่อแม่ให้สะอาด) ศัพท์อื่นที่ลงปัจจัยคู่แฝดนี้มีอีกมาก เช่น ฉตฺตํ, ฉตฺรํ (ร่ม),
จิตฺตํ, จิตฺรํ (จิต), สุตฺตํ, สุตฺรํ (ด้าย), สุตฺตํ (อาหาร), โสตํ, โสตฺรํ (หู), เนตฺตํ, เนตฺรํ (นัยน์ตา), ปวิตฺตํ, ปวิตฺรํ
(ความดี, การชำระ), ปตฺตํ, ปตฺรํ (การถึง), ปตฺโต, ปตฺโร (บาตร), ตนฺตํ, ตนฺตรํ (แผ่ขยาย) เป็นต้น.
แปลว่า ลง ต-ตฺรณฺ ปัจจัย หลังธาตุมี ฉท เป็นต้น (รู ๖๖๖) วิเคราะห์ว่า ปุนาตีติ ปุตฺโต, ปุตฺโร.
(ชื่อว่า ปุตฺต, ปุตฺร เพราะอรรถว่า ชำระ พ่อแม่ให้สะอาด) ศัพท์อื่นที่ลงปัจจัยคู่แฝดนี้มีอีกมาก เช่น ฉตฺตํ, ฉตฺรํ (ร่ม),
จิตฺตํ, จิตฺรํ (จิต), สุตฺตํ, สุตฺรํ (ด้าย), สุตฺตํ (อาหาร), โสตํ, โสตฺรํ (หู), เนตฺตํ, เนตฺรํ (นัยน์ตา), ปวิตฺตํ, ปวิตฺรํ
(ความดี, การชำระ), ปตฺตํ, ปตฺรํ (การถึง), ปตฺโต, ปตฺโร (บาตร), ตนฺตํ, ตนฺตรํ (แผ่ขยาย) เป็นต้น.
#กิมลโส = กึ+อลโส (ทำไม+เกียจคร้าน)
#อพฺยตฺโต (คนไม่ฉลาด, คนโง่) น+พฺยตฺต > อพฺยตฺต+สิ
#ภารหารโก (ผู้นำไปซึ่งภาระ, คนแบกหาม, คนทำงานหนัก) ภาร+หารก > ภารหารก+สิ
#พฺยตฺตโก (คนฉลาด, คนมีปัญญา) พฺยตฺตก+สิ
#ปูชิโต (ผู้ถูกบูชา, ผู้ได้รับการบูชา) ปูชิต+สิ
#โลเก (ในโลก) โลก+สฺมึ
#พฺยตฺต (ผู้ฉลาด, ผู้มีปัญญา) พฺยตฺต+สิ ปฐมาวิภัตติ เป็น อวิภัตติกนิทเทส (เป็นศัพท์แสดงการไม่ประกอบวิภัตติ),
มาจาก วิ+อญฺช-คติยํ+ต ปัจจัยในกิตก์ ๑) วิ. ว่า: พฺยญฺชยตีติ พฺยตฺโต. (ผู้ถึงแล้วโดยวิเศษ ชื่อว่า พฺยตฺต) ซ้อน ต ปัจจัย
ด้วยสูตรว่า ภุชาทีนมนฺโต โน ทฺวิ จ. (รู ๕๖๐) ๒) มาจาก วิ+อตฺต เป็นสมาส วิ. ว่า: วิสิฏฺโฐ อตฺตา ยสฺสาติ วา พฺยตฺโต.
(ตนของผู้ใด เป็นเลิศ มีอยู่ เหตุนัน ผู้นั้น ชื่อว่า พฺยตฺต) ที่มาวิเคราะห์ อภิธานัปปทีปิกา-ฏีกา คาถา ๒๒๘.
มาจาก วิ+อญฺช-คติยํ+ต ปัจจัยในกิตก์ ๑) วิ. ว่า: พฺยญฺชยตีติ พฺยตฺโต. (ผู้ถึงแล้วโดยวิเศษ ชื่อว่า พฺยตฺต) ซ้อน ต ปัจจัย
ด้วยสูตรว่า ภุชาทีนมนฺโต โน ทฺวิ จ. (รู ๕๖๐) ๒) มาจาก วิ+อตฺต เป็นสมาส วิ. ว่า: วิสิฏฺโฐ อตฺตา ยสฺสาติ วา พฺยตฺโต.
(ตนของผู้ใด เป็นเลิศ มีอยู่ เหตุนัน ผู้นั้น ชื่อว่า พฺยตฺต) ที่มาวิเคราะห์ อภิธานัปปทีปิกา-ฏีกา คาถา ๒๒๘.
#ปุตฺร (ลูกเอ่ย) ปุตฺร+สิ อาลปนวิภัตติ
#ทิเน ทิเน (ทุกวัน) ทิน+สฺมึ
……………….
ปทรูปสิทธิ_๗.๑ กิพพิธานกัณฑ์_เตกาลิก_กิจจัปปัจจยันตนัย
๗. กิพฺพิธานกณฺฑ
เตกาลิก
กิจฺจปฺปจฺจยนฺตนย
อถ
ธาตูหิเยว ภาวกมฺมกตฺตุกรณาทิสาธนสหิตํ
กิพฺพิธานมารภียเต.
ตตฺถ
กิจฺจกิตกวเสน ทุวิธา หิ
ปจฺจยา,
เตสุ
กิจฺจสญฺญาย ปฐมํ วุตฺตตฺตา,
กิจฺจานมปฺปกตฺตา
จ กิจฺจปฺปจฺจยา ตาว วุจฺจนฺเต.
อภิธานัปปทีปิกา_๒.๗ ภูกัณฑ์_ปาตาลวรรค
๒.๗.
ปาตาลวคฺค
๖๔๙.
อโธภุวนํ
ปาตาลํ,
นาคโลโก
รสาตลํ;
รนฺธํ
ตุ วิวรํ ฉิทฺทํ,
กุหรํ
สุสิรํ พิลํฯ
๖๕๐.
สุสิ’ตฺถี
ฉิคฺคลํ โสพฺภํ,
สจฺฉิทฺเท
สุสิรํ ติสุ;
ถิยํ
ตุ กาสุ อาวาโฏ,
สปฺปราชา
ตุ วาสุกีฯ
อภิธานัปปทีปิกา_๒.๖.๒ ภูกัณฑ์_อรัญญาทิวรรค_สีหาทิ
๒.๖.๒.
สีหาทิ
๖๑๑.
มิคินฺโท
เกสรี สีโห,
ตรจฺโฉ
ตุ มิคาทโน;
พฺยคฺโฆ
ตุ ปุณฺฑรีโกถ,
สทฺทูโล
ทีปินี’ริโตฯ
๖๑๒.
อจฺโฉ
อิกฺโก จ อิสฺโส ตุ,
กาฬสีโห
อิโสปฺยถ;
โรหิโส
โรหิโต จาถ,
โคกณฺโณ
คณิ กณฺฏกาฯ
อภิธานัปปทีปิกา_๒.๖.๑ ภูกัณฑ์_อรัญญาทิวรรค_เสลาทิ
๒.๖.
อรญฺญาทิวคฺค
๒.๖.๑.
เสลาทิ
๖๐๕.
ปพฺพโต
คิริ เสโล’ทฺทิ,
นคา’จล,สิลุจฺจยา;
สิขรี
ภูธโรถพฺภ,
ปาสาณา’สฺโม’ปโล
สิลาฯ
๖๐๖.
คิชฺฌกูโฏ
จ เวภาโร,
เวปุลฺโล’สิคิลี
นคา;
วิญฺโฌ
ปณฺฑว วงฺกาที,
ปุพฺพเสโล
ตุ โจ’ทโย;
มนฺทโร
ปรเสโล’ตฺโถ,
หิมวา
ตุ หิมาจโลฯ
อภิธานัปปทีปิกา_๒.๕ ภูกัณฑ์_อรัญญวรรค
๒.๕.
อรญฺญวคฺค
๕๓๖.
อรญฺญํ
กานนํ ทาโย,
คหนํ
วิปินํ วนํ;
อฏวี’ตฺถี
มหารญฺญํ,
ตฺวรญฺญานีตฺถิยํ
ภเวฯ
๕๓๗.
นครา
นาติทูรสฺมิ,
สนฺเตหิ
โยภิโรปิโต;
ตรุสณฺโฑ
ส อาราโม,
ตโถปวนมุจฺจเตฯ
โลกนีติปาฬิแปล_๑.๑๖ หมวดบัณฑิต_อย่าปล่อยวัยให้ไร้ค่า
#อย่าปล่อยวัยให้ไร้ค่า#
๑๖.
ปถมํ ปราชเย สิปฺปํ, ทุติยํ ปราชเย ธนํ,
ตติยํ ปราชเย ธมฺมํ, จตุตฺถํ กึ กริสฺสติ ฯ
„ปฐมวัย ไม่ศึกษาหาความรู้,
วัยที่สอง ไม่ทำงานสะสมทรัพย์,
วัยที่สาม ไม่ทำบุญปฏิบัติธรรม
ปัจฉิมวัย จักทำประโยชน์อะไร?“
(#โลกนีติ หมวดบัณฑิต คาถาที่ ๑๖, #นรทักขทีปนี ๑๕)
……………….
ศัพท์น่ารู้ :
#ปถมํ (ที่ต้น, ที่แรก, ปถมวัย) ปถม+อํ
#ปราชเย (พึงพ่ายแพ้, ปราชัย) ปรา+√ชิ+อ+เอยฺย ภูวาทิ. กัตตุ. พฤทธิ์ อิ เป็น เอ,
แปลง เอ เป็น อย ด้วยสูตรว่า เอ อย. (รู ๔๙๑) แปลง เอยฺย เป็น เอ ได้บ้าง (รู ๔๕๔, ๔๘๘),
ชิ ธาตุเป็นได้ทั้ง ภูวาทิคณะและกิยาทิคณะตามที่ธาตฺวัตถสังคหะแสดงไว้ในคาถาที่ ๑๓๘ ว่า
“ชิ ภูกี ชยปราเช” แปลว่า „ชิ ธาตุได้ทั้งหมวดภูธาตุและหมวดกีธาตุ ย่อมเป็นไปในอรรถว่า ชนะ และ ปราชัย.
แปลง เอ เป็น อย ด้วยสูตรว่า เอ อย. (รู ๔๙๑) แปลง เอยฺย เป็น เอ ได้บ้าง (รู ๔๕๔, ๔๘๘),
ชิ ธาตุเป็นได้ทั้ง ภูวาทิคณะและกิยาทิคณะตามที่ธาตฺวัตถสังคหะแสดงไว้ในคาถาที่ ๑๓๘ ว่า
“ชิ ภูกี ชยปราเช” แปลว่า „ชิ ธาตุได้ทั้งหมวดภูธาตุและหมวดกีธาตุ ย่อมเป็นไปในอรรถว่า ชนะ และ ปราชัย.
#สิปฺปํ (ซึ่งศิลปะ, ความรู้) สิปฺป+อํ
#ทุติยํ (ที่สอง, ทุติยวัย) ทุติย+อํ
#ธนํ (ซึ่งทรัพย์) ธน+อํ
#ตติยํ (ที่สาม, ตติยวัย) ตติย+อํ
#ธมฺมํ (ซึ่งธรรม, ความดี, บุญ, กุศล) ธมฺม+อํ
#จตุตฺถํ (ที่สี่, จตุตถวัย, ปัจฉิมวัย) จตุตฺถ+อํ
#กึ = กึ ปโยชนํ (อะไร, ประโยชน์อะไร) กึ+อํ
#กริสฺสติ (จักทำ) กร+โอ+อิ+สฺสติ ตนาทิ. กัตตุ.
……………….
27.02.2018
โลกนีติปาฬิแปล_๑.๑๕ หมวดบัณฑิต_กบในกะลา
#กบในกะลา#
๑๕.
อปฺปสฺสุโต สุตํ อปฺปํ, พหุํ มญฺญติ มานวา;
สินฺธูทกํ อปสฺสนฺโต, กูเป โตยํว มณฺฑุโก ฯ
“คนที่มีความรู้น้อย มักถือตัว
ย่อมสำคัญความรู้นิดหน่อยว่ามาก,
เหมือนกบน้อยไม่เคยเห็นน้ำทะเล
เห็นแต่น้ำในบ่อ ฉะนั้น.“
(#โลกนีติ หมวดบัณฑิต คาถาที่ ๑๕, #ธัมมนีติ ๖๒, #กวิทัปปณนีติ ๘๖)
……………….
ศัพท์น่ารู้ :
#อปฺปสฺสุโต (ผู้มีสุตะน้อย, คนมีความรู้น้อย) อปฺป (น้อย, นิดหน่อย) +สุต (ฟัง, ความรู้) > อปฺปสฺสุต+สิ,
คนรู้น้อยหรือฟังมาน้อย ในที่นี้หมายเอานวังคสัตถุศาสน์ (คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าอันประกอบด้วยองค์ ๙ ประการ)
คือ สูตร เคยยะ ไวยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม และ เวทัลละ (องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๖)
คนรู้น้อยหรือฟังมาน้อย ในที่นี้หมายเอานวังคสัตถุศาสน์ (คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าอันประกอบด้วยองค์ ๙ ประการ)
คือ สูตร เคยยะ ไวยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม และ เวทัลละ (องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๖)
#สุตํ (สุตะ, สูตร, ความรู้) สุต+อํ
#อปฺปํ (ที่น้อย) อปฺป+อํ
#พหุํ (มาก, เยอะ) พหุ+อํ
#มญฺญติ (ย่อมรู้, ย่อมสำคัญ) √มน-ญาเณ+ย+ติ ทิวาทิ. กัตตุ. แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ
#มานวา (ผู้มีมานะ) มานวนฺตุ+สิ, มาจาก มาน+วนฺตุ ปัจจัยในตทัสสัตถิตัทธิต วิ. มาโน อสฺส อตฺถีติ มานวา
(มานะ ของชนนั้น มีอยู่ เหตุนั้น ชนนั้น ชื่อว่า มานวา, มานวันตุ )
(มานะ ของชนนั้น มีอยู่ เหตุนั้น ชนนั้น ชื่อว่า มานวา, มานวันตุ )
#สินฺธูทกํ (น้ำในทะเล, น้ำทะเล, มหาสมุทร) สินฺธุ+อุทก > สินฺธูทก+อํ
#อปสฺสนฺโต (ไม่เห็นอยู่, ยังไม่เห็น) ทิส > ปสฺส+อ+อนฺต > ปสฺสนฺต, น+ปสฺสนฺต > อปสฺสนฺต+สิ
#กูเป (หลุม, บ่อ) กูป+สฺมึ
#โตยํว = โตยํ+อิว (ซึ่งน้ำ+เพียงดัง)
#มณฺฑุโก (กบ, มัณฑุกะ) มณฺฑุก+สิ
……………….
อภิธานัปปทีปิกา_๒.๔.๔ ภูกัณฑ์_จตุพพัณณวรรค_สุททวรรค
๒.๔.๔.
สุทฺทวคฺค
๕๐๓.
สุทฺโท’นฺตวณฺโณ
วสโล,
สงฺกิณฺณา
มาคธาทโย;
มาคโธ
สุทฺทขตฺตาโช,
อุคฺโค
สุทฺทาย ขตฺตโชฯ
๕๐๔.
ทฺวิชา
ขตฺติยโช สูโต,
การุ
ตุ สิปฺปิโก ปุเม;
สงฺฆาโต
ตุ สชาตีนํ,
เตสํ
เสณี ทฺวิสุจฺจเตฯ (เสณิ)
อภิธานัปปทีปิกา_๒.๔.๓ ภูกัณฑ์_จตุพพัณณวรรค_เวสสวรรค
๒.๔.๓
เวสฺสวคฺค
๔๔๕.
เวสฺโส
จ เวสิยาโนถ,
ชีวนํ
วุตฺติ ชีวิกา;
อาชีโว
วตฺตนํ จาถ,
กสิกมฺมํ
กสิตฺถิยํฯ
๔๔๖.
วาณิชฺชญฺจ
วณิชฺชาถ,
โครกฺขา
ปสุปาลนํ;
เวสฺสสฺส
วุตฺติโย ติสฺโส,
คหฏฺฐา’คาริกา
คิหิฯ
อภิธานัปปทีปิกา_๒.๔.๒ ภูกัณฑ์_จตุพพัณณวรรค_พราหมณวรรค
๒.๔.๒.
พฺราหฺมณวคฺค
๔๐๘.
พฺรหฺมพนฺธุ
ทฺวิโช วิปฺโป,
พฺรหฺมา
โภวาที พฺราหฺมโณ;
โสตฺติโย
ฉนฺทโส โสถ,
สิสฺส’
นฺเตวาสิโน ปุเมฯ
๔๐๙.
พฺรหฺมจารี
คหฏฺโฐ จ,
วนปฺปตฺโถ
จ ภิกฺขุติ;
ภวนฺติ
จตฺตาโร เอเต,
อสฺสมา
ปุนฺนปุํสเกฯ
อภิธานัปปทีปิกา_๑.๔.๑ ภูกัณฑ์_จตุพพัณณวรรค_ขัตติยวรรค
๒.๔.
จตุพฺพณฺณวคฺค
๒.๔.๑.
ขตฺติวคฺค
๓๓๒.
กุลํ
วํโส จ สนฺตานา,
ภิชนา
โคตฺต มนฺวโย;
ถิยํ
สนฺตตฺโ โถ วณฺณา,
จตฺตาโร
ขตฺติยาทโยฯ
๓๓๓.
กุลีโน
สชฺชโน สาธุ,
สภฺโย
จายฺโย มหากุโล;
ราชา
ภูปติ ภูปาโล,
ปตฺถิโว
จ นราธิโปฯ
อภิธานัปปทีปิกา_๒.๓ ภูกัณฑ์_นรวรรค
๒.๓.
นรวคฺค
๒๒๗.
มนุสฺโส
มานุโส มจฺโจ,
มานโว
มนุโช นโร;
โปโส
ปุมา จ ปุริโส,
โปริโส
ปฺยถ ปณฺฑิโตฯ
๒๒๘.
พุโธ
วิทฺวา วิภาวี จ,
สนฺโต
สปฺปญฺญ โกวิทา;
ธีมา
สุธี กวิ พฺยตฺโต,
วิจกฺขโณ
วิสารโทฯ
อภิธานัปปทีปิกา_๒.๒ ภูมิกัณฑ์_ปุรวรรค
๒.๒.
ปุรวคฺค
๑๙๘.
ปุรํ
นคร มิตฺถี วา,
ฐานียํ
ปุฏเภทนํ;
ถิยํ
ตุ ราชธานี จ,
ขนฺธาวาโร
ภเว ถ จฯ
๑๙๙.
สาขานคร
มญฺญตฺร,
ยํ ตํ
มูลปุรา ปุรํฯ
พาราณสี
จ สาวตฺถิ,
เวสาลี
มิถิลา,
ฬวีฯ
อภิธานัปปทีปิกา_๒.๑ ภูกัณฑ์_ภูมิวรรค
๒.
ภูกณฺฑ
๒.๑.
ภูมิวคฺค
๑๘๐.
วคฺคา
ภูมิ,
ปุรี,
มจฺจ,
จตุพฺพณฺณ,
วนาทิหิ;
ปาตาเลน
จ วุจฺจนฺเต,
สงฺโค’ปงฺเคหิ’ธ’กฺกมาฯ
๑๘๑.
วสุนฺธรา
ฉมา ภูมิ,
ปถวี
เมทนี มหี;
อุพฺพี
วสุมตี โค กุ,
วสุธา
ธรณี ธรา;
ปุถวี
ชคตี ภูรี,
ภู จ
ภูตธรา’ วนีฯ
อภิธานัปปทีปิกา_๑.๕ สัคคกัณฑ์_จิตตาทิวรรค
๑.๕.
จิตฺตาทิวคฺค
๑๕๒.
จิตฺตํ
เจโต มโน นิตฺถี,
วิญฺญาณํ
หทยํ ตถา;
มานสํ
ธี ตุ ปญฺญา จ,
พุทฺธิ
เมธา มติ มุติฯ
๑๕๓.
ภูรี
มนฺตา จ ปญฺญาณํ,
ญาณํ
วิชฺชา จ โยนิ จ;
ปฏิภานมโมโห
ถ,
ปญฺญาเภทา
วิปสฺสนาฯ
อภิธานัปปทีปิกา_๑.๔ สัคคกัณฑ์_กุสลาทิวรรค
๑.๔.
กุสลาทิวคฺค
๘๕.
กุสลํ
สุกตํ สุกฺกํ,
ปุญฺญํ
ธมฺมมนิตฺถิยํ;
สุจริตมโถ
ทิฏฺฐ-,
ธมฺมิกํ
อิหโลกิกํฯ
๘๖.
สนฺทิฏฺฐิกมโถ
ปาร-,
โลกิกํ
สมฺปรายิกํ;
ตกฺกาลํ
ตุ ตทาตฺวํ โจ-,
ตฺตรกาโล
ตุ อายติฯ
Abonnieren
Posts (Atom)
กวิทัปปณนีติแปล_๓๕. ใครเล่าตายแล้วจะไม่เกิด
#ใครเล่าตายแล้วจะไม่เกิด# ๓๕. สชาโต เยน ชาเตน, ยาติ วํโส สมุนฺนตึ; ปริวตฺตินิสํสาเร, มโต โก วา น ชายเตฯ „ ความเป็นญาติกันด้วยการเกิดอันใด...

-
#ห้าสิ่งที่ควรทำช้าๆ # ๙. สิเน สิปฺปํ สิเน ธนํ, สิเน ปพฺพตมารุหํ, สิเน กามสฺส โกธสฺส, อิเม ปญฺจ สิเน สิเน ฯ „สิ่งที่ควรทำช้า ๆ ...
-
#ปฏิญฺญาคาถา# (คำรับรองของผู้แต่งคัมภีร์) ๒. กริสฺสามิ สมาเสน, นานาสตฺถสมุทฺธฏํ; หิตาย กวินํ นีตึ, กวิทปฺปณนามกํฯ „ข้าพเจ้า (ครั้นกราบไหว...
-
เท ศน์มหาชาติ พระเวสสันดรชาก ๑๓ กัณฑ์ โดย อ . สมไชย รากโพธิ มูลนิธิพระอภิธรรมวัดพระเชตุพน...
-
#ร่มเงาแห่งความสุข# ๕๐. สุขา รุกฺขสฺส ฉายาว, ตโต ญาติมาตาปิตุ, ตโต อาจริโย รญฺโญ, ตโต พุทฺธสฺสเนกธา ฯ “ร่มเงาแห่งต้นไม้ เป็นสุข...
-
๑. คุณพระรัตนตรัย 🎧 นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส. นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส. นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺ...